วันพุธที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2554

ที่มาข้อมูล

                        http://www.pantown.com/board.php?id=5111&area=1&name=board1&topic=13&action=view
                        http://www.thaigoodview.com/node/8716
                        http://www.geocities.com/vilaiporn_narak/to1.htm
                        http://missthalassemia.exteen.com/20060927/y-y

สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อมวลชนที่มีราคาถูกที่สุด

สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อมวลชนที่มีราคาถูกที่สุด
                
สื่อสิ่งพิมพ์เสนอเรื่องราวที่สามารถเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานได้     คงสภาพนานเมื่อประสงค์อ่านหรืออ้างอิงก็สามารถทำได้  สื่อสิ่งพิมพ์เมื่อซื้อมาแล้วจะเปิดอ่านเมื่อใดก็ได้แล้วแต่อารมณ์  เรื่องอารมณ์  เรื่องที่ลงในหนังสือพิมพ์มีหลายรสสื่อสิ่งพิมพ์เสนอเรื่องราวที่สามารถเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานได้คงสภาพนานเมื่อประสงค์อ่านหรืออ้างอิงก็สามารถทำได้สื่อสิ่งพิมพ์ให้ข่าวสาร   และรายละเอียดได้อย่างลึกซึ้งมากกว่าวิทยุโทรทัศน์สื่อสิ่ง พิมพ์เป็นสื่อมวลชนที่แตกต่างไปจากสิ่งพิมพ์ประเภทอื่น  ข่าวสารต่าง ๆ เป็นเรื่องใหม่น่าสนใจชักจูงให้อยากอ่านอ่านแล้วเกิดความรู้และเข้าใจ เหตุการณ์ต่างๆ มีข้อมูลในการตัดสินใจบางกรณี ทำให้มองเหตุการณ์ต่างๆด้วยทัศนะอันกว้างและพัฒนา ความรู้สึกนึกคิดเป็นอย่างดี  เมื่อเปรียบเทียบหนังสือพิมพ์กับสื่อมวลชนประเภทอิเล็กทรอนิกส์ในด้านการเสนอข่าวหรือเรื่องราวต่าง ๆ แล้วพบว่าหนังสือพิมพ์มีข้อได้เปรียบดังนี้ คือ
ด้านความเชื่อถือได้  (Reliability)
          คนเรามักจะมั่นใจในสิ่งที่ได้อ่านมากกว่าสิ่งที่ได้ยิน และแม้ว่าโทรทัศน์จะทำให้เราเห็นภาพก็จริง แต่เป็นการเห็นภาพเพียงแวบเดียว สื่อสิ่งพิมพ์จึงให้ความมั่นใจต่อผู้รับข่าวสารในประการนี้มากกว่าสื่อมวลชนประเภทอื่น
ด้านความสมบูรณ์  (
Completeness)
          สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ย่อมให้รายละเอียดของข่าวสารได้มากกว่าวิทยุหรือโทรทัศน์
ด้านการอ้างอิง (
Deferability)
          ผู้อ่านสื่อสิ่งพิมพ์สามารถกลับมาอ่านเรื่องราวที่ได้อ่านแล้วอีกครั้งหรือหลายครั้งก็ได้และอ่าน ในเวลาใดก็ได้ส่วนวิทยุและโทรทัศน์นั้นผู้ฟังและผู้ชมจะต้องไม่พลาดเวลาออกอากาศ
ด้านการย้ำ (
Repetition)
          สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์อาจลงข่าวเดียวกันติดต่อกันหลายวันและ ทุกครั้งมีรายละเอียดเพิ่มเติม ซึ่งอาจจะน่าเบื่อสำหรับผู้รู้แต่เป็นการกระตุ้น มวลชนให้เกิดความ ตื่นเต้นเกิดอารมณ์ร่วมมีการเรียนรู้ ได้เป็นอย่างดี และช่วยเผยแพร่ต่อๆกันไป วิทยุอาจ รายงานข่าวซ้ำกัน ได้ก็จริงแต่มี โอกาสน้อยที่จะเติมรายละเอียด ส่วนโทรทัศน์มีโอกาส เสนอข่าว ซึ่งน้อยกว่าวิทยุ และมีโอกาสขยายความได้น้อยกว่าหนังสือพิมพ์

บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์มีบทบาท ดังต่อไปนี้

บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์มีบทบาท ดังต่อไปนี้
          1. บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ในงานสื่อมวลชน สื่อสิ่งพิมพ์มีความสำคัญในด้านการนำเสนอข้อมูลข่าวสาร สาระ และความบันเทิง ซึ่งเมื่องานสื่อมวลชนต้องเผยแพร่ จึงต้องผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์, วารสาร, นิตยสาร เป็นต้น
          2. บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ในสถานศึกษา สื่อสิ่งพิมพ์ถูกนำไปใช้ในสถานศึกษาโดยทั่วไป ซึ่งทำให้ผู้เรียน ผู้สอนเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น เช่น หนังสือ ตำรา แบบเรียน แบบฝึกหัดสามารถพัฒนาได้เป็นเนื้อหาในระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้
          3. บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ในงานด้านธุรกิจ สื่อสิ่งพิมพ์ที่ถูกนำไปใช้ในงานธุรกิจประเภทต่าง ๆ เช่น งานโฆษณา ได้แก่ การผลิต หัวจดหมาย/ซองจดหมาย, ใบเสร็จรับเงิน/ใบส่งของ, โฆษณาหน้าเดียว, นามบัตร เป็นต้น
         4. บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ในงานธนาคารงานด้านการธนาคาร ซึ่งรวมถึง งานการเงินและงานที่เกี่ยวกับ หลักฐานทางกฎหมาย ได้นำสื่อสิ่งพิมพ์หลาย ๆ ประเภทมาใช้ในการดำเนินงาน เช่น ใบนำฝาก, ใบถอน, ธนบัตร, เช็คธนาคาร, ตั๋วแลกเงิน และหนังสือเดินทาง
         5. บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ในห้างสรรพสินค้า และร้านค้าปลีก สื่อสิ่งพิมพ์ที่ทางห้างสรรพสินค้า หรือร้านค้า ปลีกใช้ในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ใบปิดโฆษณาต่าง ๆ ใบปลิว, แผ่นพับ, จุลสาร
            การสื่อสิ่งพิมพ์มีลักษณะพิเศษหลายประการทำให้สื่อสิ่งพิมพ์ยังคงเป็นสื่อที่มีความสำคัญอย่างมากในปัจจุบันแม้มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าการใช้สื่อสิ่งพิมพ์จะลดน้อยลง และจะหายไปจากบรรณพิภพเนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ สื่ออินเทอร์เน็ตจะเข้ามาแทนที่ อย่างไรก็ตาม ข้อสังเกตข้างต้นยังไม่เป็นความจริงในเวลา นี้เพราะ ข้อจำกัดในการเข้าถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ของสังคมไทย ในที่นี้จะขอกล่าวถึงลักษณะพิเศษของสื่อสิ่งพิมพ์ที่ทำให้สื่อสิ่งพิมพ์ยังมีความสำคัญอยู่เวลานี้

สิ่งพิมพ์ เป็นสิ่งที่มีราคาถูก เมื่อเปรียบเทียบกับสื่อมวลชนประเภทอื่น ๆ

รูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์

รูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์
สำหรับรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์แบ่งออกได้เป็น 3 รูปแบบคือ
1. ระบบการพิมพ์ (printing System) หมายถึง การใช้แท่นพิมพ์กระดาษ และหมึกพิมพ์ในการ
ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ออกมาได้เป็นจำนวนมากในเวลาอันสัน มีอยู่หลายระบบด้วยกันคือ
         1.1 การพิมพ์แบบแม่พิมพ์หรือเลตเทอร์เพรส (Letter Press)
มีต้นแบบมาจากการ์ตูนเบิร์กโดยตัว
พิมพ์จะนูนโดดขึ้นมาในกระจกเงา คิอกลับซ้าย-ขวาเมื่อกลิ้งหมึกผ่านแล้วป้อนกระดาษไปปิดทับ
         1.2 การพิมพ์แบบแม่พิมพ์แบบร่องลึกหรือโรโทกราวร์ (Rotogravure) คือตัวพิมพ์แท่นที่จะ
          นูนก็กลับตรงกันข้ามคือเป็นร่องลึกลงไป หมึกจะถูกใสลงไปในร่อง และเมื่อกดกระดาษลงไปหมึกในร่อง
ตัวพิมพ์จะถูกซึมไปปรากฎอยู่บนกระดาษซึ่งวิธีการพิมพ์แบบนี้ค่อนข้างยาก
          1.3 การพิมพ์แบบแม่พิมพ์แบบแบนหรือออฟปริ้นติ้ง
          การพิมพ์แบบนี้ได้นำการถ่ายภาพที่ต้องการจะพิมพ์ลงบนแผ่นอโลมีเนียมซึ่งเรียกว่าแผ่นพิมพ์เพทจากนั้นจากนั้นก็จะนำไปอาบนำยาเคมีที่จะบังคับให้สีใดสามารถติดได้อยู่บนบริเวณใดที่ต้องการให้ติดวิธีนี้ภาพในแผนพิมพ์จึงสามารถเป็นภาพลักษณะปกติไม่ต้องกลับซ้ายกลับขวา ดังเช่นวิธีที่
2ที่ได้กล่าวมาแล้วและภาพพิมพ์ได้จะมีความคมชัดเจนสวยงามและเป็นธรรมชาติมากที่สุด ดั้งนั้น จะเห็นได้ว่าการที่โลกมนุษย์เจริญรุ่งเรืองมาตราบเท่าทุกวันนี้ ก็เนื่องจากมีการถ่ายทอดความรู้ และแนวความคิดมาจากบรรพบุรุษมาสู่ลูกหลาน โดยอาศัยสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลักซึ่งจะช่วยให้คนรุ่นหลังๆได้เรียนรู้เรื่องราวต่างๆจากบรรพบุรุษแล้วนำไปศึกษาค้นคว้าต่อจึงเกิดความรู้ใหม่ๆเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วนอกจาดนี้สื่อสิ่งพิมพ์ยังมีบทบาทในการใช้เป็นสื่อในการถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมของ


ชาติและของท้องถิ่นอีกด้วย
              สื่อสิ่งพิมพ์
   จึงมีความหมายว่า สิ่งที่พิมพ์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นแผ่นกระดาษหรือวัตถุใด ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ อันเกิดเป็นชิ้นงานที่มีลักษณะเหมือน ต้นฉบับขึ้นหลายสำเนาในปริมาณมากเพื่อเป็นสิ่งที่ทำการติดต่อ หรือชักนำให้บุคคลอื่นได้เห็นหรือทราบ ข้อความต่าง ๆประเภทของสื่อสิ่งพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ- หนังสือสารคดี ตำรา แบบเรียนเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่แสดงเนื้อหาวิชาการในศาสตร์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อสื่อให้ผู้อ่าน เข้าใจความหมาย ด้วยความรู้ที่เป็นจริง จึงเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่เน้นความรู้อย่างถูกต้อง- หนังสือบันเทิงคดีเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้นโดยใช้เรื่องราวสมมติ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความเพลิดเพลิน สนุกสนาน มักมีขนาดเล็ก เรียกว่า หนังสือฉบับกระเป๋า หรือ Pocket Book ได้สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่

วิวัฒนาการสิ่งพิมพ์ในประเทศไทย

วิวัฒนาการสิ่งพิมพ์ในประเทศไทย

                สื่อสิ่งพิมพ์ในประเทศไทยเกิดขึ้นมาครั้งแรกเมื่อวันที่
  4    กรกฎคม  พ. ศ 2387    โดยหมอบีชนรัดเลย์ สิ่งพิมพ์ของหมอบีรัดเลย์คือหนังสื่อพิมพ์        ซึ่งถือได้ว่าเป็นการเริ่มต้นสิ่งพิมพ์แบบใหม่หลังจากการสร้างหรือประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ภาษาไทยได้  หนังสือพิมพ์ของหมอบีชถึงแม้จะเป็นหนังสื่อพิมพ์ที่ไม่สมบูรณ์นักแต่ก็ให้ได้ข่าวสารและความรู้พอสมควร

วิวัฒนาการของสิ่งพิมพ์ในต่างประเทศ

วิวัฒนาการของสิ่งพิมพ์ในต่างประเทศ
            
ในศตวรรษที่ 15 การพิมพ์เริ่มทันสมัยมากขึ้นดังนั้นมีการจึงมีการคิดค้นเครื่องมือและวิธีการใหม่ๆของการพิมพ์จึงทำให้มีการกีดมีหนังสื่อพิมพ์ วารสาร หนังสือ เอกสาร ตำราต่าง ๆ  และได้มีการเอาเทคนิคของการถ่ายภาพ การใช้ฟิล์มตลอดเครื่องมือทางไฟฟ้าต่างๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมทันสมัยมากยิ่ง

วิวัฒนาการของสิ่งพิมพ์

วิวัฒนาการของสิ่งพิมพ์ 

                การพิมพ์วิวัฒนามาประมาณ
4,000ปีมาแล้ว    หลังจากที่ชนชาติต่างๆในหลายทวีปได้เริ่มใช้วิธีเขียนเป็นสัญลักษณ์และตัวอักษรแทนคำพูด  เป็นภาษารูปลิ่มของชาวซูเบอร์ภาษาแกะสลักของชาวอียิปต์ภาษารูปภาพของชาวจีน และภาษาอักษรของชาวอินเดีย ชาวฟินิเขียน และชาวโรมัน